เรื่อง : หลักสูตร รู้เท่าทันภาษีหัก ณ ที่จ่าย
สถานที่ : โรงแรมฮิพ กรุงเทพ ถนนรัชดาภิเษก
วันที่อบรม | จำนวนวัน | ราคา |
---|
หลักการและเหตุผล
ภาษีเงินได้หัก ณ ที่จ่าย คือ วิธีการจัดเก็บภาษีของรัฐวิธีหนึ่งที่กำหนดให้ผู้มีหน้าที่เสียภาษีเงินได้ต้องเสียภาษี
หลักการและเหตุผล
ก่อนที่จะถึงกำหนดเวลายื่นแบบแสดงรายการ โดยกำหนดให้ผู้จ่ายเงินได้มีหน้าที่หักภาษีเงินได้ไว้เมื่อมีการจ่ายตามประเภทของภาษีเงินได้และอัตราภาษีที่กำหนดสำหรับการนำส่งภาษีเงินได้หัก ณ ที่จ่ายในแต่ละกรณีจะใช้แบบแสดงรายการที่แตกต่างกันไป เช่น กรณีที่จ่ายเงินเดือนให้กับพนักงาน จะใช้แบบแสดงรายการที่เรียกว่า "ภ.ง.ด.1" แต่หากเป็นการจ่ายค่าจ้างหรือเงินได้ให้กับบุคคลธรรมดา จะใช้แบบแสดงรายการที่เรียกว่า "ภ.ง.ด.3" และในกรณีที่หักภาษี ณ ที่จ่ายของนิติบุคคลเราจะใช้แบบแสดงรายการที่เรียกว่า "ภ.ง.ด. 53"และทุกแบบแสดงรายการที่ว่ามานี้ธุรกิจของเรามีหน้าที่ต้องยื่นแบบและชำระภาษีของเดือนถัดไปภายในวันที่กรมสรรพากรกำหนดภาษีเงินได้หัก ณ ที่จ่ายนั้น ยังมีรายละเอียดมากมาย เพราะการจ่ายเงินแต่ละประเภทนั้นมีทั้ง รายการที่ต้องหัก และไม่ต้องหัก ภาษี ณ ที่จ่าย รวมถึงอัตราภาษีที่มีความแตกต่างกัน แล้วใครกันละที่จ่ายแล้วต้องหักกันแน่ แล้วที่รับเงินแล้วต้องถูกหัก จ่ายเท่าไหร่ ถึงต้องหัก และถ้าต้องหักแล้วไม่ได้หักผลจะเป็นอย่างไร
เนื้อหาหลักสูตรเวลา 09:00-16:00 น.
1. หลักการที่สำคัญของภาษีหัก ณ ที่จ่าย
- ใครนะ ?..ที่จ่ายแล้วต้องหัก แล้วใครกันแน่ ?..ที่รับแล้วต้องถูกหัก
- จ่ายเท่าไรถึงต้องหัก ถ้าต้องหักแล้วไม่ได้หักผลเป็นอย่างไร
2. ภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาหัก ณ ที่จ่าย
- จ่ายเงินเดือนเท่ากันทุกเดือน จ่ายเงินเพิ่มระหว่างปี ขึ้นเงินเดือน
• จ่ายเงินโบนัส
- จ่ายค่านายหน้า
- ออกภาษีให้กับพนักงาน
- สุดยอดเคล็ดลับ!! เข้าใจอย่างง่ายกับเงินได้เพราะเหตุออกจากงาน
- จ่ายค่าสิทธิ ดอกเบี้ย เงินปัน ผล
- จ่ายค่าเช่า จ่ายเงินค่าวิชาชีพอิสระ จ้างทำของ
- กระชับความเข้าใจการหัก ณ ที่จ่าย กรณีขายอสังหาริมทรัพย์
- ส่วนราชการจ่ายเงินได้ หักหรือไม่หัก ถ้าหักต้องหักเท่าไร อย่างไร
3. ภาษีเงินได้นิติบุคคลหัก ณ ที่จ่าย
- จ่ายเท่าไรถึงต้องหัก ผู้รับเป็นใครบ้าง ที่ผู้จ่ายไม่ต้องหัก
- หากเงินที่จ่ายต้องเสียภาษีมูลค่าเพิ่มด้วย ต้องหักรวมหรือไม่อย่างไร
- จ่ายค่า Soft ware จ่ายค่าซื้อเครื่องคอมพิวเตอร์ ห
- จ่ายดอกเบี้ยเงินกู้ยืมระหว่างบริษัท บริษัทในเครือ ดอกเบี้ยผิดนัด
- คลี่ปมสารพันปัญหา..วางหลักการพิจารณาเรื่องการจ่ายค่าเช่า
- ทรัพย์สิน เช่น ค่าเช่าโครงเหล็ก ป้ายโฆษณา การให้เช่าอาคาร
- การให้เช่าเฟอร์นิเจอร์ การให้เช่าช่วง การโอนสิทธิการเช่า
- การให้เช่ารถยนต์กับการรับขนส่ง การให้เช่าแบบลิสซิ่ง ฯลฯ
- หลักเกณฑ์อย่างไรที่เป็นการจ่ายค่าโฆษณา
- จ่ายค่าจ้างทำของ จ่ายค่าสินค้าพร้อมกับค่าจ้างต้องหักรวม
- หรือแยกอย่างไร
- จ่ายค่าบริการ เช่น บริการที่จอดรถ บริการสัมปทาน
- บริการให้ใช้ พื้นที่หรือสถานที่ หักอย่างไร
- และมีบริการใดบ้างที่ไม่ต้องหัก
- ค่าขนส่ง พิจารณาอย่างไร และหักอย่างไร
- การส่งเสริมการขาย ส่วนลดและประโยชน์ที่เกี่ยวเนื่องจากการ
- ส่งเสริมการขาย หักอย่างไร
- จ่ายเงินค่านักแสดง พิธีกร นายแบบ นางแบบ พริตตี้ โฆษก
4. การขอคืนภาษีหัก ณ ที่จ่าย
- ใครขอคืน ต้องขอคืนเมื่อไร และต้องขอคืนอย่างไร
5. อื่นๆ อีกมากมายที่น่ารู้เกี่ยวกับภาษีหัก ณ ที่จ่าย
อัตราค่าลงทะเบียน
วิทยากร : อาจารย์ ศุภชัย บำรุงศรี
ตำแหน่งปัจจุบัน
นิติกรชำนาญการ สำนักกฎหมาย กรมสรรพากร
การศึกษา
- นิติศาสตร์บัณฑิต มหาวิทยาลัยรามคำแหง
- นิติศาสตร์มหาบัณฑิต (สาขากฎหมายธุรกิจ) มหาวิทยาลัยรามคำแหง
- เนติบัณฑิตไทย สำนักอบรมศึกษากฎหมายแห่งเนติบัณฑิตยสภา
Copyright 2015 บริษัท เพอเฟกท์ เทรนนิ่ง แอนด์ เซอร์วิส จำกัด
16/54 ซอยบางขุนเทียน 16 แขวงแสมดำ เขตบางขุนเทียน กรุงเทพ 10150
Perfect Training And Service Co.,Ltd.
สอบถามและสำรองที่นั่งได้ที่ โทร 02-0445895 ,
085-9386299
Webdesgin by Programmer Thai