เรื่อง : ประเด็นกฎหมายแรงงานที่ฝ่ายบริหาร/หัวหน้างานควรรู้

สถานที่ : โรงแรมเซนต์เจมส์ สุขุมวิท 26
วันที่อบรม จำนวนวัน ราคา

หลักการและเหตุผล

กฎหมายแรงงานเป็นกฎหมายที่บัญญัติถึงสิทธิและหน้าที่ของนายจ้าง และลูกจ้าง องค์การของนายจ้างและองค์การของลูกจ้าง รวมทั้งมาตรการที่กาหนดให้นายจ้าง ลูกจ้าง และองค์การดังกล่าวต้องปฏิบัติต่อกันและต่อรัฐ โดยกาหนดมาตรฐานขั้นต่าในการจ้าง การใช้แรงงาน และการจัดสวัสดิการ ที่จาเป็นในการทางาน หากผู้บริหารงานด้านทรัพยากรบุคคลขาดความรู้อย่างแท้จริงในเรื่องกฎหมายแรงงาน จะทาให้มีปัญหาในการบริหารงาน และรอวันที่จะปรากฏออกมา ซึ่งจะยากแก่การแก้ไขในวันข้างหน้า
แม้กฎหมายแรงงานจะเป็นเรื่องที่คนทางานทั่วไปและเจ้าหน้าที่ฝ่ายบุคคลจะได้รู้อยู่แล้วก็ตาม แต่ก็ปรากฏว่าหลายครั้งมีความเข้าใจผิดในบางส่วนบางประเด็น ซึ่งถ้าเป็นการพลาดของฝ่ายบุคคลแล้วกิจการอาจถูกฟ้องร้องเอาได้ หรือสาหรับตัวผู้ใช้แรงงานก็ควรจะรู้และเข้าใจทั้งในหลักการใหญ่และเกร็ดต่างๆ เพื่อที่จะป้องกันสิทธิของตน
วัตถุประสงค์ของหลักสูตร
1. เพื่อให้เจ้าของกิจการ ผู้บริหาร ผู้จัดการ หัวหน้างาน ฝ่ายบุคคล มีความเข้าใจและรู้ด้านกฎหมายแรงงาน
2. เพื่อให้ท่านสามารถนาความรู้ไปใช้อย่างถูกต้องและมีประสิทธิภาพ และลดผลกระทบที่อาจตามอย่างมากมาย และองค์กรของท่านไม่ต้องรับโทษทางกฎหมายทั้งคดีแพ่ง คดีอาญาที่เกี่ยวเนื่องกับกฎหมายแรงงาน
หัวข้อการสัมมนา เวลา 09.00-16.00น.
1. ลักษณะของกฎหมายว่าด้วยการคุ้มครองแรงงาน มีความสาคัญอย่างไร
2.การทาสัญญา/ข้อตกลง ที่ลูกจ้างเต็มใจตกลงด้วย ทาไมศาลฎีกา ให้ตกเป็นโมฆะ
3.กิจการทาผิดกฎหมาย ทาไมผู้บริหารกิจการจึงต้องถูกจาคุก และ/หรือ ถูกปรับ มาจากกฎหมายอะไรในมาตราใด มีความหมายอย่างไร
4.ต่อไปจะไม่จ้างลูกจ้างประจา จ้างแต่ลูกจ้างชั่วคราวได้ไหม
5.การจ้างลูกจ้างชั่วคราว จ้างได้ไม่เกินกี่ปี จ้างกันนานๆ จะกลายเป็นลูกจ้างประจาไหม
6.การนับอายุงาน นับอย่างไรจึงจะถูกต้อง
7.ค่าชดเชยมีกี่อัตรา จ่ายเท่าไร ทาไมจึงมิใช่จ่าย 1เท่า , 3เท่า , 6เท่า,8เท่า,10เท่า ของเงินเดือน
8.พนักงานลาออก ไม่ต้องจ่ายเงินอะไรบ้าง
9.เลิกจ้างลูกจ้างโดยไม่ต้องจ่ายค่าชดเชยตามกฎหมายแรงงานปี 2551มีเงือนไขอย่างไร
10.งานใดไม่ควรใช้การจ้างแรงงาน แต่ควรจ้างแบบเหมาบริการ มีประโยชน์แก่กิจการอย่างไร
11. การจ้างเหมาค่าแรง คือค่าจ้างแบบใด และกิจการที่จ้างต้องมีความรับผิดชอบอย่างไร
12.ต้องจ่ายค่าทางานในวันหยุดเท่าไร จึงจะถูกกฎหมาย
13.การคิดค่าจ้างต่อวันในลูกจ้างรายเดือน คิดอย่างไรจึงจะถูกกฎหมาย
14.การปฏิบัติต่อลูกจ้างชาย-หญิง อย่างเท่าเทียมกัน มีความหมายอย่างไร
15.งานใดควรใช้เวลาทางานแบบยืดหยุ่น และงานแบบใดควร Fix เวลาเข้างาน / ออกงาน
16.การให้สวัสดิการแก่ลูกจ้าง Subcontractor มีผลให้กิจการนั้นกลายเป็นนายจ้างโดยตรงทันที การให้สวัสดิการแบบใดที่ไม่ทาให้กิจการตกเป็นนายจ้างของลูกจ้าง Subcontrator
17.ขั้นตอนการนัดหยุดงานที่ถูกกฎหมาย มีกระบวนการ และขั้นตอนอย่างไร
18.ถ้าลูกจ้างนัดหยุดงานผิดขั้นตอน นายจ้างควรดาเนินการอย่างไร
19.จะลงโทษกรรมการสหภาพแรงงานที่ทาผิด เหมือนพนักงานทั่วไป ได้หรือไม่ เพียงไร
20.ข้อห้ามในการเลิกจ้างลูกจ้าง 3มาตรา มีอย่างไร หากฝ่าฝืนผู้บริหารกิจการมีโทษอย่างไร
21.กรรมการสหภาพแรงงาน มีสิทธิการลาไปร่วมกิจการอะไรได้บ้าง โดยถือเป็นวันทางาน
22.เงินที่ลูกจ้างได้จากลูกค้าที่ให้เอง กับอานาจเลิกจ้าง
23.ลูกจ้างละทิ้งหน้าที่ไปดื่มสุราในเวลาทางาน อาจจะไม่ใช่ความผิดร้ายแรง
24.ลูกจ้างร่วมกับบุคคลภายนอกชิงทรัพย์ลูกค้า กลับเลิกจ้างไม่ได้
25.ลูกจ้างละทิ้งหน้าที่ไปดื่มสุราในเวลาทางาน อาจจะไม่ใช่ความผิดร้ายแรง
26.ลูกจ้างมีผลงานต่ากว่ามาตรฐาน ทาไมเลิกจ้างไม่ได้
27.ข้อสัญญาจ้าง ระเบียบ ประกาศ คาสั่ง หากลูกจ้างแปลผิดพลาดอาจจะต้องยอมรับ
28.ลูกจ้างหญิงเกษียณอายุก่อนลูกจ้างชายไม่ได้
29.การยุบหน่วยงาน เลิกจ้างโดยจ่ายค่าชดเชย และค่าบอกกล่าวล่วงหน้า อาจจะไม่ชอบด้วยกฎหมาย
30.ลูกจ้างเฉี่อยงาน แต่เลิกจ้างไม่ได้
31.งานรับเหมาช่วง งานรับเหมาก่อสร้าง อาจจะไม่ใช่งานครั้งคราว
32.ลูกจ้างเป็นผู้ลงนามในใบลาออกจริง กลายเป็นกรณีเลิกจ้าง
33.นายจ้างมีสัญญาจ้างทดลองงาน แต่กลับเลิกจ้างไม่ได้
34.นายจ้างจ่ายเงินสมทบเกินหน้าที่เสมอ
35.ข้อตกลงการจ่ายเงินรางวัลประจาปี ของฝ่ายลูกจ้างและฝ่ายนายจ้าง อาจใช้ไม่ได้
36.นายจ้างงดจ่ายค่าจ้าง หรือตัดค่าจ้างของลูกจ้างในวันที่ลูกจ้างขาดงาน หรือละทิ้งหน้าที่ไม่ได้
37.เงินจ่ายที่ไม่ใช่เงินเดือน ต้องนามารวมกับเงินเดือน เพื่อคานวณจ่ายเป็นค่าชดเชย
38.นายจ้างมีงานเร่งด่วน นายจ้างไม่มีอานาจสั่งให้ลูกจ้างทางานล่วงเวลา วันหยุด
39.ลูกจ้างไม่ลาหยุด พักผ่อนตามประกาศ นายจ้างต้องจ่ายค่าจ้างให้ลูกจ้าง
40.ลูกจ้างทาความผิดจริง จึงสั่งลงโทษให้พักงานโดยงดจ่ายค่าจ้าง ทาไม่ได้
41.ค่าล่วงเวลาแบบเหมาจ่ายให้รายเดือนมีปัญหา
42.ผู้ว่าจ้างจ่ายค่าว่าจ้างให้ผู้รับจ้างตามผลสาเร็จของงาน เป็นสัญญาจ้างแรงงาน
43.ผู้ว่าจ้างให้ผู้รับจ้างทางานโดยอิสระ ศาลให้เป็นสัญญาจ้างแรงงาน
44.เจ้าของบ้านว่าจ้างช่างมาปลูกสร้างบ้าน ศาลถือเป็นจ้างแรงงาน
45.ลูกจ้างทาหนังสือรับสภาพหนี้ให้นายจ้าง แต่กลับไม่ต้องชาระหนี้
46.การเลิกจ้างในระหว่างทดลองงาน อาจเป็นการเลิกจ้างที่ไม่เป็นธรรม
47.การเลิกจ้างไปสังกัดบริษัทในเครือ โดยลูกจ้างไม่ได้ตกลงด้วย
48.การลาออกไม่เป็นไปตามสัญญา งดการออกหนังสือรับรองการผ่านงานไม่ได้
49.การโอนลูกจ้างไปสังกัดบริษัทในเครือ โดยลูกจ้างไม่ได้ตกลงด้วย
50.การลาออกไม่เป็นตามสัญญา งดการออกหนังสือรับรองการผ่านงานไม่ได้
51.สัญญาจ้าง ข้อบังคับฯ ระเบียบ คาสั่งของนายจ้าง ที่ลูกจ้างลงนาม บังคับลูกจ้างไม่ได้
52.นายจ้างให้เว้นระยะการจ้างลูกจ้าง แต่ต้องนับอายุงานติดต่อกัน
53.กาหนดเวลาทางานปกติ วันละ 9ชม. สัปดาห์ 5วัน ผิดกฎหมายแรงงาน
54.ลูกจ้างหญิงที่มีครรภ์ ทางานเกี่ยวกับเครื่องจักร เครื่องยนต์ที่สั่นสะเทือน งานขับเคลื่อน ติดไปกับยานพาหนะ งานที่เข็นของหนักเกิน 15กก. ไม่ได้
55.ลูกจ้างหญิงมีครรภ์ร้องขอทางานในวันหยุด นายจ้างยินยอม แต่มีความผิดทางอาญา
56.ไม่จ่ายค่าจ้างให้ลูกจ้างรายวัน ในวันหยุดตามประเพณี วันหยุดพักผ่อนประจาปี มีความผิดตามกฎหมาย
57.จ่ายค่าจ้างในวันที่ไม่ได้หยุดพักผ่อนตามส่วน ทาไมจึงถือว่าผิด
วิทยากร อาจารย์กฤษฎ์ อุทัยรัตน์
-ประธานกรรมการบริหาร KriszdQuality Innovation Institute และ SCENARIO TECHNOLOGY CO.,LTD.
-กรรมการในคณะรับรองมาตรฐานแรงงานไทย และ กรรมการคัดเลือกที่ปรึกษาในระบบบริหารจัดการมาตรฐานแรงงานไทย (สานักมาตรฐานแรงงานไทย กระทรวงแรงงาน)
-ที่ปรึกษา กรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน
-กรรมการบริหาร TuVNord ประเทศไทย-เยอรมัน
-อดีตผู้บริหารระดับ CEOs บริษัทจากัดมหาชนหลายแห่ง
-ผู้พิพากษาสมทบ ศาลแรงงานกลาง กระทรวงยุติธรรม

 

 

วิทยากร อาจารย์กฤษฎ์ อุทัยรัตน์
-ประธานกรรมการบริหาร KriszdQuality Innovation Institute และ SCENARIO TECHNOLOGY CO.,LTD.
-กรรมการในคณะรับรองมาตรฐานแรงงานไทย และ กรรมการคัดเลือกที่ปรึกษาในระบบบริหารจัดการมาตรฐานแรงงานไทย (สานักมาตรฐานแรงงานไทย กระทรวงแรงงาน)
-ที่ปรึกษา กรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน
-กรรมการบริหาร TuVNord ประเทศไทย-เยอรมัน
-อดีตผู้บริหารระดับ CEOs บริษัทจากัดมหาชนหลายแห่ง
-ผู้พิพากษาสมทบ ศาลแรงงานกลาง กระทรวงยุติธรรม

อัตราค่าลงทะเบียน

วิทยากร :

Copyright 2015  บริษัท เพอเฟกท์ เทรนนิ่ง แอนด์ เซอร์วิส จำกัด  

16/54 ซอยบางขุนเทียน 16 แขวงแสมดำ เขตบางขุนเทียน กรุงเทพ 10150

Perfect Training And Service Co.,Ltd.

สอบถามและสำรองที่นั่งได้ที่ โทร 02-0445895 ,

085-9386299

Webdesgin by Programmer Thai