เรื่อง : หลักสูตร กฎหมายประกันสังคม ให้สิทธิ ผู้ประกันตนตามมาตรา 33, 39, 40

สถานที่ : โรงแรมโกลด์ ออร์คิด กรุงเทพฯ
วันที่อบรม จำนวนวัน ราคา

หลักการและเหตุผล

หลักสูตร 1 วัน

         กองทุนประกันสังคม จะมีกองทุนจากลูกจ้าง – นายจ้าง และภาครัฐ เข้าสมทบกัน เพื่อเป็นหลักประกัน ในการช่วยเหลือลูกจ้างกรณีเจ็บป่วย อันไม่เนื่องจากการทำงาน หรือสิทธิอื่นๆ ที่ได้บัญญัติไว้ข้อกฎหมาย หรือเป็นกฎกระทรวงเพื่อเป็นค่าใช้จ่ายให้กับลูกจ้างกรณีประสบอันตราย อันเนื่องมาจากการทำงาน และค่าสูญเสียอวัยวะของลูกจ้างตามคำวินิจฉัยของแพทย์

 

วัตถุประสงค์:

1. เพื่อให้ผู้เข้ารับการอบรมทราบถึงประกันตนตามมาตรา 33, 39, 40 ต้องมีคุณสมบัติอย่างไร? ต้องส่งเงินสมทบเข้ากองทุนในอัตราเท่าใด? และทราบสิทธิของผู้ประกันตนเริ่มเกิดขึ้นเมื่อใด?

2. เพื่อให้ทราบถึงกองทุนประกันสังคมคุ้มครองลูกจ้างอย่างไร? กองทุนทดแทนคุ้มครองลูกจ้างในกรณีใด? และสิทธิจะได้รับหลังเป็นผู้ประกันตนกฎหมายคุ้มครองอย่างไร?

3. เพื่อให้นำองค์ความรู้ที่ได้รับไปปฏิบัติจริงต่อการบริหารงานในองค์กรให้เกิดประโยชน์สูงสุด และถูกต้องตามที่บัญญัติไว้ตามกฎหมาย

 

หัวข้อการฝึกอบรม/สัมมนา:

1. วัตถุประสงค์ของกฎหมายประกันสังคมมีขึ้นเพื่ออะไร?               

2. วัตถุประสงค์ของกองทุนเงินทดแทนมีอะไรบ้าง?

3. กองทุนเงินทดแทนได้รับเงินจากใคร?                                    

4. ลูกจ้างได้รับสิทธิจากกองทุนเงินทดแทนเมื่อใด?

5. สิทธิของลูกจ้างจะได้รับกรณีประสบอันตรายอันเนื่องมาจากการทำงาน มีอะไรบ้าง?

6. กรณีเสียชีวิต ทาญาติผู้มีสิทธิจะได้รับเงินมีใครบ้าง?                  

7. กรณีอุทธรณ์คำวินิจฉัยของแพทย์ต้องดำเนินการอย่างไร?

8. วัตถุประสงค์ของกองทุนประกันสังคม มีอะไรบ้าง?                  

9. กองทุนประกันสังคม ได้รับเงินสบทบจากใคร?

10. ลูกจ้างได้รับสิทธิจากกองทุนประกันสังคมเมื่อใด?                 

11. กรณีประสบอันตรายหรือเจ็บป่วย จะได้รับการรักษาอย่างไร?

12. หลังการเจ็บป่วย จะได้รับเงินการขาดรายได้อย่างไร?

13. กรณีไม่สามารถรักษาตามบัตรรับรองสิทธิได้ ต้องแจ้งอย่างไร?  

14. กรณีทันตกรรมจะได้รับสิทธิอย่างไร?

15. กรณีคลอดบุตร ผู้ประกันตน หญิง ชาย จะได้รับเงินค่าคลอดบุตรอย่างไร?

16. จะได้รับสิทธิ ลาคลอด ได้กี่วัน ได้รับค่าจ้างจากการ ลาคลอดบุตร ได้กี่วัน

17. กรณีสงเคราะห์บุตรจะมีเงื่อนไขและสิทธิที่จะได้รับอย่างไร?

18.กรณีทุพพลภาพ ทุพพลภาพรุนแรง ไม่รุนแรง จะได้รับเงินอย่างไร?

19. กรณีเสียชีวิต ผู้จัดการงานศพ จะได้รับเงินเท่าใด?

20. ทาญาติผู้มีสิทธิได้รับเงินบำเหน็จ มีใครบ้าง?

21. กรณีรับเงินบำเหน็จ ชรภาพผู้มีสิทธิที่จะได้รับ จะต้องมีเงื่อนไขอย่างไร?
22. กรณีรับเงินบำนาญ ชราภาพ ผู้มีสิทธิที่จะได้รับ จะต้องมีเงื่อนไขอย่างไร?
23. กรณีว่างงานผู้ถูกเลิกจ้าง / ลาออกหรือสินสุดสัญญาจ้าง จะได้รับเงินอย่างไร?
24. หลังออกจากงานแล้วจะขึ้นทะเบียน การว่างงานได้เมื่อใด?
25. หลักออกจากงานแล้วจะคุ้มครองสิทธิการรักษาพยาบาล ได้กี่วัน?
26. ผู้ประกันตน ตามมาตรา 39 ต้องมีคุณสมบัติอย่างไร?
27. ผู้ประกันตน ตามมาตรา 39 จะต้องส่งเงินสมทบ ในอัตราเท่าใด?
28. สิทธิที่จะได้รับตามมาตรา 39 มีอะไรบ้าง?
29. ผู้ประกันตนตามมาตรา 40 ต้องมีคุณสมบัติอย่างไร?
30. ผู้ประกันตน ตามมาตรา 40 จะต้องส่งเงินสมทบ ในอัตราเท่าใด?

31. สิทธิที่จะได้รับตามมาตรา 40 มีอะไรบ้าง?
32. คำพิพากษาฎีกาที่ตัดสินคดีแรงงานที่ผู้บริหารงานบุคคลควรรู้ มีอะไรบ้าง?

 

วิทยากร: อาจารย์สมบัติ  น้อยหว้า

เป็นผู้พิพากษาสมทบศาลแรงงานกลาง ปี , เป็นผู้ประนอมคดีในชั้นศาลแรงงานกลาง
เป็นที่ปรึกษาด้านแรงงาน,จดทะเบียนที่กระทรวงแรงงาน,เป็นกรรมการ (บอร์ด) ค่าจ้างขั้นต่ำที่กระทรวงแรงงาน
เป็นอนุกรรมการประกันสังคม สำนักงานใหญ่ จ.นนทบุรี,เป็นผู้จัดการฝ่ายบุคคล 
บริษัท ดับบลิว เอส เอส กรุ๊ป ประเทศไทย จำกัด,เป็นวิทยากรบรรยายพิเศษกฎหมายแรงงาน / กฎหมายประกันสังคม
เป็นวิทยากรบรรยาย การป้องกันและส่งเสริมความปลอดภัยในการทำงาน
 

อัตราค่าลงทะเบียน

วิทยากร :

Copyright 2015  บริษัท เพอเฟกท์ เทรนนิ่ง แอนด์ เซอร์วิส จำกัด  

16/54 ซอยบางขุนเทียน 16 แขวงแสมดำ เขตบางขุนเทียน กรุงเทพ 10150

Perfect Training And Service Co.,Ltd.

สอบถามและสำรองที่นั่งได้ที่ โทร 02-0445895 ,

085-9386299

Webdesgin by Programmer Thai