เรื่อง : หลักสูตร การออกแบบการประเมินผลการปฏิบัติงานด้วย KPI และ Competency รุ่นที่ 24
สถานที่ : โรงแรมเซนต์เจมส์ สุขุมวิท 26
วันที่อบรม | จำนวนวัน | ราคา |
---|
หลักการและเหตุผล
วัตถุประสงค์
เนื้อหาหลักสูตร
เริ่มลงทะเบียน 08.30 น. -16.00 น.
ส่วนที่ 1 : ปฐมบทเรื่องน่ารู้เกี่ยวกับการประเมินผลการปฏิบัติงานสมัยใหม่ (Introduction to Modern Performance Appraisal)
§ความเชื่อมโยงของการประเมินผลการปฏิบัติงานกับระระบบบริหารผลการปฏิบัติงาน (Performance Management System : PMS)
§6 ขั้นตอนสำคัญของระบบบริหารผลการปฏิบัติงานเชิงกลยุทธ์ (Strategic Performance Management Process)
§Key Performance Indicators และ Competency เครื่องมือและเกณฑ์ในการประเมินผลยุคใหม่
§แนวทางการกำหนดปัจจัยและค่าน้ำหนักความสำคัญในการประเมินผลการปฏิบัติงานประจำปียุคใหม่
ส่วนที่ 2 : ความเหมือนที่แตกต่าง และความแตกต่างที่เหมือนกัน ของ KPIs (Key Performance Indicators) กับ OKRs (Objective and Key Results)
§ความเหมือนที่แตกต่างของ KPIs กับ OKRs
§ความแตกต่างที่เหมือนกันของ KPIs กับ OKRs
§ถ้า OKRs ไม่นิยมใช้ประเมินผล แล้วองค์กรที่ใช้ OKRs ใช้เครื่องมือใดในการประเมินผล ???
ส่วนที่ 3 : เทคนิคการกำหนด KPIs ในการประเมินผลการปฏิบัติงานให้เชื่อมโยงสอดคล้องกับ Vision และ Objective (KPIs for Performance Appraisal)
§ประเภทของ KPI
§การกำหนด Corporate KPIs ด้วย Balance Scorecard (BSC) เพื่อวัดผลการดำเนินงานทางธุรกิจขององค์กร
§แนวทางการกำหนดตัวชี้วัดและเป้าหมายขององค์กร (Corporate KPIs)
§แนวทางการกำหนดตัวชี้วัดผลงานของแต่ละฝ่ายงาน (Functional KPIs) ให้เชื่อมโยงกับนโยบาย (Policy)
วัตถุประสงค์ (Objective) และเป้าหมายองค์กร (Corporate KPIs)
§Workshop 1 : ฝึกปฏิบัติกำหนด Functional KPIs ของฝ่ายงาน ให้เชื่อมโยงกับ Objective และเป้าหมายองค์กร (Corporate KPIs)
§แนวทางการกำหนดตัวชี้วัดและเป้าหมายของตำแหน่งงาน (Position KPIs / Individual KPIs)
§ความแตกต่างระหว่าง Key Performance Indicators กับ Performance Indicators
§แนวทางการออกแบบและเชื่อมโยง KPIs สู่การประเมินผลงาน
Workshop 2 : ฝึกปฏิบัติออกแบบประเมินผลการปฏิบัติงานด้วย KPI ของแต่ละตำแหน่งงาน
ส่วนที่ 4 : วิธีกำหนดและเชื่อมโยง Competency สู่การประเมินผลการปฏิบัติงาน (Competency for Performance Appraisal)
ประเภทของ Competency และเครื่องมือในการกำหนด Competency
ความแตกต่างระหว่าง Key Performance Indicators กับ และ Competency
แนวทางการกำหนด Competency ในการประเมินขีดความสามารถจาก Job Description Version 4
แนวทางการแปลง Competency จาก Training Road Map สู่การประเมินความสามารถประจำปีที่สอดคล้องกับกลยุทธ์องค์กร
ตัวอย่างการแปลง Competency จาก Training Road Map สู่การประเมินความสามารถที่สอดคล้องกับกลยุทธ์องค์กร
ส่วนที่ 5 : แนวทางในการประเมินผลงานอย่างเป็นธรรมและได้รับการยอมรับ
แนวทางการประเมินผลงานอย่างเป็นธรรมและได้รับการยอมรับ
กระบวนการในการประเมิน และ Feedback ผลการปฏิบัติงานลูกน้องอย่างมีประสิทธิภาพ
ส่วนที่ 6 : แนวทางการแจ้งผลการปฏิบัติงาน (Positive Feedback) ให้ได้ทั้งใจและได้ทั้งงานจากลูกน้อง
เทคนิคการแจ้งผลงาน (Positive Feedback) แบบได้ทั้งใจ และได้ทั้งผลงานจากลูกน้อง
ส่วนที่ 7 : การนำผลการประเมินไปปรับใช้งานเชื่อมโยงกับ Human Resources System
แนวทางการเชื่อมโยงผลการปฏิบัติงานกับแผนพัฒนารายบุคคล (Performance Appraisal linked to Individual Development Plan : IDP)
แนวทางการเชื่อมโยงผลการประเมินกับ Training Road Map และ Career Path
แนวทางการเชื่อมโยงผลการประเมินกับ Succession Plan ด้วย Competency และ KPI
แนวทางการเชื่อมโยงผลการประเมินกับการปรับค่าจ้างประจำปียุคใหม่ แบบอิงเกรด ไม่อิง Bell Curve
อัตราค่าลงทะเบียน
วิทยากร : อาจารย์ธนุเดช ธานี
ปัจจุบัน
Øผู้จัดการฝ่ายทรัพยากรมนุษย์
Øกรรมการบริหารฝ่ายวิชาการและสมาชิกสัมพันธ์ สมาคมการจัดการงานบุคคลแห่งประเทศไทย (PMAT)
Øรองประธานกลุ่มงานบุคคลและวิชาการชมรมอุตสาหกรรมบางปู ปี 2554-2555
Øรองประธานฝ่ายกฎหมาย ชมรมบริหารงานบุคคลเพชรเกษม-สมุทรสาคร (PSPAG) ปี 2554-2555
ประวัติการศึกษา
Øปริญญาโท บริหารธุรกิจ (MBA) สาขาการจัดการทั่วไป มหาวิทยาลัยรามคำแหง
Øปริญญาตรี รัฐศาสตร์ สาขาบริหารรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรามคำแหง
Øวุฒิบัตร “วิทยากรฝึกอบรม” จากกรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน
Øวุฒิบัตร “การเป็นผู้จัดการฝ่ายทรัพยากรบุคคล” จากมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีนานาชาติ ร่วมกับสถาบันวิจัยและพัฒนาทรัพยากรมนุษย์
Øเกียรติบัตรการปฏิบัติตาม “มาตรฐานความรับผิดชอบของผู้ประกอบการอุตสาหกรรมต่อสังคม (CSR-DIW Continuous)” โดยสถาบันมาตรฐานไอเอสโอ ร่วมกับกรมโรงงานอุตสาหกรรม
Øเกียรติบัตรการปฏิบัติตาม “มาตรฐานความรับผิดชอบของผู้ประกอบการอุตสาหกรรมต่อสังคม (CSR-DIW)” โดยสถาบันมาตรฐานไอเอสโอ ร่วมกับกรมโรงงานอุตสาหกรรม
Øเกียรติบัตร “คณะกรรมการระบบสมรรถนะในโรงงานต้นแบบ ของโครงการการขับเคลื่อนระบบสมรรถนะสู่โรงงานอุตสาหกรรมอาหาร” โดยสำนักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม กระทรวงอุตสาหกรรม และมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพ ปี 2554
ประสบการณ์วิชาชีพการบริหารและพัฒนาทรัพยากรมนุษย์มากกว่า 22ปี
Øนักบริหารทรัพยากรบุคคลองค์กรธุรกิจชั้นนำที่ได้รับ รางวัลสถานประกอบดีเด่นด้านแรงงานสัมพันธ์และสวัสดิการแรงงานระดับประเทศ 5 ปีต่อเนื่องจากนายกรัฐมนตรี
Øรับโล่องค์กรต้นแบบด้านระบบสมรรถนะของอุตสาหกรรมอาหาร โดยรองผู้อำนวยการสำนักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม กระทรวงอุตสาหกรรม
Øรับโล่ CSR-DIW Continuous Awards ปี 2554 จากอธิบดีกรมโรงงาน
Øโล่และเกียรติบัตร CSR-DIW Awards ปี 2553 จากรองปลัดกระทรวงอุตสาหกรรม
Øผู้บริหารสายงานทรัพยากรบุคคล บริษัทในเครืออินเด็กซ์ ลิฟวิ่งมอล์ล, บริษัท ยูโรเปี้ยนฟู้ด จำกัด (มหาชน), บริษัทในเครือเจริญโภคภัณฑ์, บริษัท คาร์เปท เมกเกอร์ (ปทท) จำกัด
Øคณะเจรจาข้อเรียกร้องกับสหภาพแรงงาน (สมาชิกสภาองค์กรลูกจ้างแห่งประเทศไทย)
กิจกรรมเพื่อประโยชน์แก่วิชาชีพและสังคม
Øประธานโครงการผู้จัดการยุคใหม่ Sunday Program รุ่น 8/1 คณะบริหารธุรกิจ (MBA) มหาวิทยาลัยรามคำแหง
Øคณะกรรมการประกวดสถานประกอบการดีเด่นด้านแรงงานสัมพันธ์และสวัสดิการจังหวัดสมุทรปราการปี 2554
Øอดีตอุปนายกฝ่ายอบรมสัมมนา สมาคมการบริหารงานบุคคล (PAAs)
Øรองประธานฝ่ายวิชาการชมรมบริหารงานบุคคลเพชรเกษม-สมุทรสาคร (PSPAG) ปี 2550-2551
Øรองประธานฝ่ายวิชาการชมรมผู้บริหารงานบุคคลจังหวัดราชบุรี ปี 2551-2552
Øคณะทำงานฝ่ายฝึกอบรมสภาอุตสาหกรรมจังหวัดราชบุรี ปี 2551
Øคณะอนุกรรมการแก้ไขปัญหาขาดแคลนแรงงานจังหวัดราชบุรี ปี 2551
Øรองเลขาธิการสภาอุตสาหกรรมจังหวัดปราจีนบุรี ปี 2547
Øกรรมการกลุ่มงานบุคคลจังหวัดขอนแก่น
Copyright 2015 บริษัท เพอเฟกท์ เทรนนิ่ง แอนด์ เซอร์วิส จำกัด
16/54 ซอยบางขุนเทียน 16 แขวงแสมดำ เขตบางขุนเทียน กรุงเทพ 10150
Perfect Training And Service Co.,Ltd.
สอบถามและสำรองที่นั่งได้ที่ โทร 02-0445895 ,
085-9386299
Webdesgin by Programmer Thai